คุณภาพน้ำสำหรับหม้อน้ำและการแก้ไขปัญหา

คุณภาพน้ำสำหรับหม้อน้ำและการแก้ไขปัญหา

 

 

1.  ความขุ่นหรือความสกปรกของน้ำ

        ความขุ่นหรือความสกปรกของน้ำก่อให้เกิดปัญหา ตะกรันดิน หรือตะกรันที่มีลักษณะคล้ายกับเปลือกไม้ ที่ไม่สามารถล้างกำจัดออกมาจากภายในหม้อน้ำ ด้วยการล้างเวียนด้วยกรดที่ให้กรดไปทำปฏิกิริยาเคมีกัดละลายออกมาได้ เพราะตะกรันชนิดนี้ไม่ใช่ตะกรันหินปูนที่เกิดขึ้นจากน้ำกระด้าง จึงไม่ทำปฏิกิริยากับกรด (แต่ถ้าน้ำป้อนหม้อน้ำมีความกระด้างรั่วผ่านออกไปจากถังกรองน้ำอ่อนด้วย ตะกรันดินก็จะมีหินปูนร่วมผสมเป็นส่วนประกอบด้วยกัน) แต่ตะกรันชนิดนี้ เกิดขึ้นจากเศษฝุ่นสิ่งสกปรกในน้ำขนาดเล็กๆ ที่เมื่อสัมผัสกับผิวเหล็กที่ร้อนมีอุณหภูมิสูง (เช่น ที่ผิวสัมผัสน้ำของท่อไฟเล็ก ที่ผิวสัมผัสน้ำของท่อไฟใหญ่ ฯลฯ) ชิ้นเศษฝุ่นเล็กๆ นี้ ก็จะจับเกาะติดที่ผิวเหล็ก และหนาขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเวลาใช้งานผ่านไป

 

 

        ตะกรันทุกชนิด แม้ความหนาเพียงบาง ๆ (โดยเฉพาะหม้อน้ำแบบท่อน้ำ) ทำให้เหล็กของหม้อน้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้นมาก จนสามารถทำให้โครงสร้างเหล็กของหม้อน้ำเสียหายเปลี่ยนโครงสร้าง ยุบตัว แตก ร้าว ฉีกขาด จากแรงดันภายในหม้อน้ำ ทำให้หม้อน้ำเป็นอันตราย จนเกิดระเบิดขึ้นได้

 

 

        นอกจากนี้ ตะกรันทุกชนิดยังเป็นฉนวน ทำให้การถ่ายเทความร้อนผ่านผนังเหล็กได้น้อยลง ทำให้หม้อน้ำสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง เป็นค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการผลิตไอน้ำเพิ่มขึ้นเป็นเงินจำนวนมาก ๆ

 

 

คุณภาพน้ำสำหรับหม้อน้ำ

 

 



คุณภาพน้ำสำหรับหม้อน้ำ

 

 

ภาพตะกรันดินหรือตะกรันเปลือกไม้ (มีหินปูนร่วม) 

หลุดร่วงออกมาหลังจากการล้างกรด 2 รอบ

(ถ้าไม่มีหินปูนเป็นส่วนประกอบ จะไม่หลุดร่วงจากการล้างด้วยกรด)


 

 

 

 

 

ภาพตะกรันดินหรือตะกรันเปลือกไม้ (มีหินปูนร่วม)

ที่เกิดจากน้ำป้อนขุ่นสกปรก

 

 



คุณภาพความขุ่น (สิ่งสกปรก) ของน้ำป้อนหม้อน้ำ ที่ยอมรับได้

 

 

2. การป้องกันและแก้ไขปัญหา

       ตะกรันดินหรือตะกรันเปลือกไม้สามารถป้องกันได้ โดยการ

          2.1 ทำการล้างย้อนถังกรองทราย (Backwashing sand filter) ด้วยการ

              หม้อกำเนิดไอน้ำ   2.1.1 ทำการล้างย้อนก่อนที่น้ำจะไม่สะอาด (ตามตารางคุณภาพความขุ่น)

                2.1.2 ใช้อัตราการไหลของน้ำที่แรงมากเพียงพอในการล้างย้อน

                2.1.3 ใช้เวลานานเพียงพอในการล้างย้อน

                2.1.4 มีการตรวจสอบความขุ่นของน้ำภายหลังการล้างย้อนเสร็จสิ้น


          2.2 ตรวจสอบสภาพความสะอาดของทรายภายในถังกรองทราย ทุกๆ 6 เดือน ถ้าพบว่าเนื้อของทรายมีสิ่งสกปรกปะปนอยู่ในเนื้อของทรายมากกว่า 5% ควรจะเปลี่ยนถ่ายเอาทรายเก่าออกจากถังทิ้งทั้งหมด แล้วเปลี่ยนใส่ทรายใหม่ที่สะอาดแทน ลงในถังกรองทราย และให้ทำการลดช่วงเวลาของการตรวจสอบความสะอาดของทรายจากทุกๆ 6 เดือน ให้สั้นน้อยลง เช่น เปลี่ยนเป็นตรวจสอบความสะอาดของทรายทุกๆ 4 เดือน หรือ เร็วกว่านั้น ถ้าหากพบว่าทรายยังมีความสกปรกอยู่อีกในการเอาทรายออกมาตรวจสอบความสะอาด

 

 



 

 



 

 

ภาพเรซินที่มีสิ่งสกปรกหลุดผ่านถังกรองทรายไปเข้าถังกรองน้ำอ่อน

(ซึ่งบางส่วนสะสมอยู่นานจนจับตัวกันเป็นก้อน)

 

 

 

 

 

 

 

ภาพความสกปรกของเรซินในขณะกวนล้างสิ่งปรกออก

 

 

 

 

 

หวังว่าบทความนี้จะช่วยให้ท่านดูแลรักษาหม้อน้ำให้ทำงานได้ดีขึ้นอย่างราบรื่น ถ้าท่านมีความสงสัยในเรื่องนี้เพิ่มเติมอย่างไร ท่านสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ คุณจรัล จิรวิบูลย์

E-MAIL : [email protected]

LINE ID : charalboiler

 

 

สนใจดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จำกัด

boonyium.brandexdirectory.com

www.boonyium.com

บอยเลอร์.net

คุณภาพน้ำสำหรับหม้อน้ำและการแก้ไขปัญหา

คุณภาพน้ำสำหรับหม้อน้ำและการแก้ไขปัญหา

 

 

1.  ความขุ่นหรือความสกปรกของน้ำ

        ความขุ่นหรือความสกปรกของน้ำก่อให้เกิดปัญหา ตะกรันดิน หรือตะกรันที่มีลักษณะคล้ายกับเปลือกไม้ ที่ไม่สามารถล้างกำจัดออกมาจากภายในหม้อน้ำ ด้วยการล้างเวียนด้วยกรดที่ให้กรดไปทำปฏิกิริยาเคมีกัดละลายออกมาได้ เพราะตะกรันชนิดนี้ไม่ใช่ตะกรันหินปูนที่เกิดขึ้นจากน้ำกระด้าง จึงไม่ทำปฏิกิริยากับกรด (แต่ถ้าน้ำป้อนหม้อน้ำมีความกระด้างรั่วผ่านออกไปจากถังกรองน้ำอ่อนด้วย ตะกรันดินก็จะมีหินปูนร่วมผสมเป็นส่วนประกอบด้วยกัน) แต่ตะกรันชนิดนี้ เกิดขึ้นจากเศษฝุ่นสิ่งสกปรกในน้ำขนาดเล็กๆ ที่เมื่อสัมผัสกับผิวเหล็กที่ร้อนมีอุณหภูมิสูง (เช่น ที่ผิวสัมผัสน้ำของท่อไฟเล็ก ที่ผิวสัมผัสน้ำของท่อไฟใหญ่ ฯลฯ) ชิ้นเศษฝุ่นเล็กๆ นี้ ก็จะจับเกาะติดที่ผิวเหล็ก และหนาขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเวลาใช้งานผ่านไป

 

 

        ตะกรันทุกชนิด แม้ความหนาเพียงบาง ๆ (โดยเฉพาะหม้อน้ำแบบท่อน้ำ) ทำให้เหล็กของหม้อน้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้นมาก จนสามารถทำให้โครงสร้างเหล็กของหม้อน้ำเสียหายเปลี่ยนโครงสร้าง ยุบตัว แตก ร้าว ฉีกขาด จากแรงดันภายในหม้อน้ำ ทำให้หม้อน้ำเป็นอันตราย จนเกิดระเบิดขึ้นได้

 

 

        นอกจากนี้ ตะกรันทุกชนิดยังเป็นฉนวน ทำให้การถ่ายเทความร้อนผ่านผนังเหล็กได้น้อยลง ทำให้หม้อน้ำสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง เป็นค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการผลิตไอน้ำเพิ่มขึ้นเป็นเงินจำนวนมาก ๆ

 

 

คุณภาพน้ำสำหรับหม้อน้ำ

 

 



คุณภาพน้ำสำหรับหม้อน้ำ

 

 

ภาพตะกรันดินหรือตะกรันเปลือกไม้ (มีหินปูนร่วม) 

หลุดร่วงออกมาหลังจากการล้างกรด 2 รอบ

(ถ้าไม่มีหินปูนเป็นส่วนประกอบ จะไม่หลุดร่วงจากการล้างด้วยกรด)


 

 

 

 

 

ภาพตะกรันดินหรือตะกรันเปลือกไม้ (มีหินปูนร่วม)

ที่เกิดจากน้ำป้อนขุ่นสกปรก

 

 



คุณภาพความขุ่น (สิ่งสกปรก) ของน้ำป้อนหม้อน้ำ ที่ยอมรับได้

 

 

2. การป้องกันและแก้ไขปัญหา

       ตะกรันดินหรือตะกรันเปลือกไม้สามารถป้องกันได้ โดยการ

          2.1 ทำการล้างย้อนถังกรองทราย (Backwashing sand filter) ด้วยการ

                2.1.1 ทำการล้างย้อนก่อนที่น้ำจะไม่สะอาด (ตามตารางคุณภาพความขุ่น)

                หม้อกำเนิดไอน้ำ 2.1.2 ใช้อัตราการไหลของน้ำที่แรงมากเพียงพอในการล้างย้อน

                2.1.3 ใช้เวลานานเพียงพอในการล้างย้อน

                2.1.4 มีการตรวจสอบความขุ่นของน้ำภายหลังการล้างย้อนเสร็จสิ้น


          2.2 ตรวจสอบสภาพความสะอาดของทรายภายในถังกรองทราย ทุกๆ 6 เดือน ถ้าพบว่าเนื้อของทรายมีสิ่งสกปรกปะปนอยู่ในเนื้อของทรายมากกว่า 5% ควรจะเปลี่ยนถ่ายเอาทรายเก่าออกจากถังทิ้งทั้งหมด แล้วเปลี่ยนใส่ทรายใหม่ที่สะอาดแทน ลงในถังกรองทราย และให้ทำการลดช่วงเวลาของการตรวจสอบความสะอาดของทรายจากทุกๆ 6 เดือน ให้สั้นน้อยลง เช่น เปลี่ยนเป็นตรวจสอบความสะอาดของทรายทุกๆ 4 เดือน หรือ เร็วกว่านั้น ถ้าหากพบว่าทรายยังมีความสกปรกอยู่อีกในการเอาทรายออกมาตรวจสอบความสะอาด

 

 



 

 



 

 

ภาพเรซินที่มีสิ่งสกปรกหลุดผ่านถังกรองทรายไปเข้าถังกรองน้ำอ่อน

(ซึ่งบางส่วนสะสมอยู่นานจนจับตัวกันเป็นก้อน)

 

 

 

 

 

 

 

ภาพความสกปรกของเรซินในขณะกวนล้างสิ่งปรกออก

 

 

 

 

 

หวังว่าบทความนี้จะช่วยให้ท่านดูแลรักษาหม้อน้ำให้ทำงานได้ดีขึ้นอย่างราบรื่น ถ้าท่านมีความสงสัยในเรื่องนี้เพิ่มเติมอย่างไร ท่านสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ คุณจรัล จิรวิบูลย์

E-MAIL : [email protected]

LINE ID : charalboiler

 

 

สนใจดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จำกัด

boonyium.brandexdirectory.com

www.boonyium.com

บอยเลอร์.net

แนะนำขั้นตอนการติดตั้งราวกันตกสแตนเลสอย่างไรให้แข็งแรง

       à¸£à¸²à¸§à¸à¸±à¸™à¸•à¸à¸ªà¹à¸•à¸™à¹€à¸¥à¸ª


       à¸ªà¸³à¸«à¸£à¸±à¸šà¸à¸²à¸£à¸•à¸´à¸”ตั้งราวกันตกสแตนเลสนั้นถือว่าเป็นตัวเลือกหนึ่งที่คนส่วนใหญ่นิยมติดตั้งกันเพราะว่าราวกันตกสแตนเลสนั้นมีความแข็งแรงทนทาน ไม่เป็นสนิมง่าย มีอายุการใช้งานที่ยาวนานแถมยังสามารถดูแลรักษาความสะอาดได้ง่าย และที่สำคัญราวกันตกสแตนเลสสามารถป้องกันอุบัติเหตุจากการพลัดตกจากที่สูงได้เป็นอย่างดี

 

ขั้นตอนการติดตั้งราวสแตนเลสให้แข็งแรง ดังนี้ 


1. วัดระยะความยาวและความสูงของระยะที่ต้องการติดตั้งราวกันตก
2. à¸„วรเลือกราวกันตกสแตนเลสที่มีความแข็งแรงมากๆ
3. à¹€à¸•à¸£à¸µà¸¢à¸¡à¸­à¸¸à¸›à¸à¸£à¸“์สำหรับติดตั้งราวกันตกสแตนเลส ได้แก่
-  สว่านตัวใหญ่
- à¸”อกสว่านเบอร์ที่เหมาะสมกับงาน
- à¸ªà¸§à¹ˆà¸²à¸™à¸•à¸±à¸§à¹€à¸¥à¹‡à¸
- à¹„ม้วัดระดับน้ำ
- à¸•à¸¥à¸±à¸šà¹€à¸¡à¸•à¸£
- à¸”ินสอสำหรับมาร์คตำแหน่ง
- à¹€à¸„รื่องเจียรหรือลูกหมู
4. à¹à¸šà¹ˆà¸‡à¸Šà¹ˆà¸§à¸‡à¸‚องระยะห่างของราวกันตกให้เหมาะสมกับความยาวความสูงของพื้นที่เพื่อความแข็งแรงและความปลอดภัยในการติดตั้งราวกันตกสแตนเลส
5. à¸¡à¸²à¸£à¹Œà¸„ตำแหน่งและเจาะพื้นตามระยะห่างที่ได้มาร์คไว้หลังจากนั้นให้ฝังพุกไว้ในบริเวณที่เจาะเพื่อยึดและติดตั้งราวกันตก
6. à¹€à¸ˆà¸²à¸°à¸£à¸¹à¸—ี่ผนังเพื่อยึดฝาปิดปลายราวมือจับสแตนเลสและขันน๊อตให้แน่นและสวมราวมือจับสแตนเลสเข้ากับเสาลูกกรงและเช็คความเรียบร้อยของน๊อตนั้นแต่ละจุดนั้นยึดแข็งแรงหรือยัง

 

ราวกันตกสแตนเลส


       à¸”ังนั้นหากต้องการออกแบบและติดตั้งราวกันตกสแตนเลส จะให้ได้งานดีไซน์ที่สวยถูกใจ และได้มาตรฐาน สามารถใช้งานได้จริง ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรือช่างมืออาชีพในการออกแบบและติดตั้ง มีการเลือกใช้สแตนเลสเกรดดีในการติดตั้ง ติดตั้งราวระเบียง อาจจะต้องมีการวัดขนาดความกว้าง ความสูง โดยประเมินจากสภาพหน้างาน เลือกแบบที่ชอบ และตกลงราคาก่อนเริ่มงานซึ่ง บริษัท พันธุ์นราโลหะการ จำกัด ยินดีให้บริการโดยทีมช่างผู้ชำนาญงาน พร้อมเลือกคัดสรรวัสดุคุณภาพดี เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า จึงทำให้ลูกค้ามีความมั่นใจ ไว้วางใจ และใช้บริการกับเราเรื่อยมา
---------------------------------------------------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง 
• à¸ªà¸²à¸£à¸°à¸™à¹ˆà¸²à¸£à¸¹à¹‰à¹€à¸à¸µà¹ˆà¸¢à¸§à¸à¸±à¸šà¸£à¸²à¸‡à¸™à¹‰à¸³à¸à¸™
• à¸£à¸²à¸§à¸à¸±à¸™à¸•à¸à¸ªà¹à¸•à¸™à¹€à¸¥à¸ªà¸™à¸´à¸¢à¸¡à¸œà¸¥à¸´à¸•à¸ˆà¸²à¸à¸ªà¹à¸•à¸™à¹€à¸¥à¸ªà¸›à¸£à¸°à¹€à¸ à¸—ใดและมีคุณสมบัติอย่างไร
• à¸ªà¸²à¸£à¸°à¸™à¹ˆà¸²à¸£à¸¹à¹‰à¹€à¸à¸µà¹ˆà¸¢à¸§à¸à¸±à¸šà¸‡à¸²à¸™à¸«à¸¸à¹‰à¸¡à¸—่อสตีมและฉนวนกันความร้อน  

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15